เทคโนโลยี / นวัตกรรมพร้อมใช้

นำเสนอเทคโนโลยีและนวัตกรรมพร้อมใช้

ระบบบริหารจัดการน้ำสำหรับเกษตรกรพื้นที่น้อย (3X3 Model)

ระบบกระจายน้ำในแปลงเกษตรโมเดล 3x3 เมตร ในส่วนนี้จะจ่ายน้ำจากโอ่งแต่ละจุดของเกษตรกรเข้าสูงพื้นที่แปลงเกษตรโมเดล 3x3 เมตร 4 แปลง โดยแปลงที่ 1 และแปลงที่ 2 เป็นเกษตรประณีตจะกระจายน้ำโดยใช้ระบบน้ำหยด แปลงที่ 3 เป็นบ่อปลาดุก แปลงที่ 4 เป็นโรงเพาะเห็ด ระบบบริหารจัดการน้ำรองรับการแก้ไขปัญหาความยากจนสำหรับเกษตรกรพื้นที่น้อย ใส่ส่วนที่ลงทุนครั้งเดียว ระยะเวลาคืนทุน 8 เดือน

136 Views
ผู้สนใจ คน

ระบบบริหารจัดการน้ำสำหรับเกษตรกรพื้นที่น้อย (3X3 Model)
พร้อมใช้

ความรู้ / เทคโนโลยี

ระบบบริหารจัดการน้ำรองรับการแก้ไขปัญหาความยากจนสำหรับเกษตรกรพื้นที่น้อย ประกอบด้วยนวัตกรรม 2 รูปแบบมาผสมผสานและบูรณาการร่วมกัน 1. นวัตกรรมการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เป็นการจัดการน้ำบนโมเดลพื้นที่ต้นแบบการทำเกษตรผสมผสาน โดยเกษตรกรแต่ละรายใช้โมเดล 3x3 เมตร จำนวน 4 แปลง (36 ตารางเมตร) ระบบกระจายน้ำในแปลงเกษตรโมเดล 3x3 เมตร ในส่วนนี้จะจ่ายน้ำจากโอ่งแต่ละจุดของเกษตรกรเข้าสูงพื้นที่แปลงเกษตรโมเดล 3x3 เมตร 4 แปลง โดยแปลงที่ 1 และแปลงที่ 2 เป็นเกษตรประณีต 2. นวัตกรรมรับอัตโนมัติ (IOT) ในการควบคุมจ่ายน้ำในแปลงเกษตร โดยแปลงที่ 1 และแปลงที่ 2 เป็นเกษตรประณีตจะกระจายน้ำโดยใช้ระบบน้ำหยด สามารถเลือกการจ่ายน้ำด้วยระบบ Mutual หรือใช้การควบคุมจ่ายน้ำอัตโนมัติตามเวลา ซึ่งสามารถตั้งเวลารดน้ำได้และมีเซ็นเซอร์ตรวจจับความชื้นสั่งตัดน้ำเมื่อความชื้นเพียงพอ แปลงที่ 2 เป็นบ่อปลาดุก จะกระจายน้ำโดยต่อท่อปล่อยน้ำเข้าบ่อ แปลงที่ 3 เป็นโรงเพาะเห็ด จะกระจายน้ำโดยใช้ระบบพ่นหมอกมีระบบตรวจเช็คอุณหภูมิและความชื้นภายในโรงเรือน ใช้พลังงานแสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงาน มีพัดลมระบายอากาศและระบบเปิดปิดระบบน้ำภายในโรงเรือนอัตโนมัติ

รายละเอียด

ระบบบริหารจัดการน้ำรองรับการแก้ไขปัญหาความยากจนสำหรับเกษตรกรพื้นที่น้อย เป็นการจัดการน้ำ    บนโมเดลพื้นที่ต้นแบบการทำเกษตรผสมผสาน โดยเกษตรกรแต่ละรายใช้โมเดล 3x3 เมตร จำนวน 4 แปลง (36 ตารางเมตร)  ระบบกระจายน้ำในแปลงเกษตรโมเดล 3x3 เมตร ในส่วนนี้จะจ่ายน้ำจากโอ่งแต่ละจุดของเกษตรกรเข้าสูงพื้นที่แปลงเกษตรโมเดล 3x3 เมตร 4 แปลง โดยแปลงที่ 1 และแปลงที่ 2 เป็นเกษตรประณีตจะกระจายน้ำโดยใช้ระบบน้ำหยด สามารถเลือกการจ่ายน้ำด้วยระบบ Mutual หรือใช้การควบคุมจ่ายน้ำอัตโนมัติตามเวลา ซึ่งสามารถตั้งเวลารดน้ำได้และมีเซ็นเซอร์ตรวจจับความชื้นสั่งตัดน้ำเมื่อความชื้นเพียงพอ แปลงที่ 3 เป็นบ่อปลาดุก จะกระจายน้ำโดยต่อท่อปล่อยน้ำเข้าบ่อ แปลงที่ 4 เป็นโรงเพาะเห็ด จะกระจายน้ำโดยใช้ระบบพ่นหมอกมีระบบตรวจเช็คอุณหภูมิและความชื้นภายในโรงเรือน ใช้พลังงานแสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงาน มีพัดลมระบายอากาศและระบบเปิดปิดระบบน้ำภายในโรงเรือนอัตโนมัติ            ประโยชน์ของการใช้งาน เกิดประโยชน์โดยตรงกับกลุ่มครัวเรือนยากจน กลุ่มวิสาหกิจที่สมาชิกมีพื้นที่น้อย การบริหารจัดการน้ำในพื้นที่แปลงเกษตร สามารถพึ่งตนเองได้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมีรายได้     ลดรายจ่ายในครัวเรือนได้ตลอดทั้งปี สมาชิกกลุ่มมีสุขภาพกายใจที่ดีจากการกินพืชผักที่ปลูกเองและมีศูนย์ที่มารวมกันปลูกผักทำให้ได้มีโอกาสได้พบปะเจอกัน ได้ออกกำลังกาย และได้สัมผัสดิน น้ำ อากาศ ที่ดี เกิดการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งเป็นพลังงานสะอาดในการเป็นต้นกำเนิดพลังงานในการจัดการน้ำในแปลงเกษตร ดินเกิดความอุดมสมบูรณ์มากขึ้นจากการทำเกษตรปลอดภัยและมีการเติมน้ำจากผิวดินไปกักเก็บไว้ใต้ดินเพื่อให้น้ำใต้ดินมีการกักเก็บไว้เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับผิวดินอีกด้วย

จุดเด่น

ระบบบริหารจัดการน้ำรองรับการแก้ไขปัญหาความยากจนสำหรับเกษตรกรพื้นที่น้อย เป็นการจัดการน้ำ บนโมเดลพื้นที่ต้นแบบการทำเกษตรผสมผสาน โดยเกษตรกรแต่ละรายใช้โมเดล 3x3 เมตร จำนวน 4 แปลง (36 ตารางเมตร) โดยระยะเวลาคืนทุนค่าเทคโนโลยีและนวัตกรรม ระบบบริหารจัดการน้ำรองรับการแก้ไขปัญหาความยากจนสำหรับเกษตรกรพื้นที่น้อย ใส่ส่วนที่ลงทุนครั้งเดียว ระยะเวลาคืนทุน 8 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

1. กลุ่มภาครัฐ ที่ต้องการเทคโนโลยีที่เหมาะสมหรือนวัตกรรมพร้อมใช้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างความเป็นอยู่ให้กับกลุ่มผู้มีรายได้น้อย 2. กลุ่มเกษตรกร ที่มีพื้นที่ทำเกษตรน้อยและต้องการเทคโนโลยีที่เหมาะสมหรือนวัตกรรมพร้อมใช้ เพื่อเพิ่มผลประสิทธิภาพหรือผลผลิตให้ได้ผลตอบแทนคุ่มค่าที่สุด 3. กลุ่มผู้ประกอบการ ที่มีพื้นที่ทำเกษตรกรรมและต้องการเทคโนโลยีที่เหมาะสมหรือนวัตกรรมพร้อมใช้ไปขยายสัดส่วนโมเดล เพื่อสร้างผลิตภาพ ผลิตผล และเพิ่มศักยภาพในการจัดการแปลงเกษตร

แหล่งเงินทุนที่ใช้วิจัย / นวัตกรรม

ไม่ระบุแหล่งทุน

ชื่อแหล่งเงินทุนที่ใช้วิจัย/นวัตกรรม

NIA

ทรัพย์สินทางปัญญา

เจ้าของสิทธิ์

ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ROI

ปริมาณหน่วยนับ ROI

ตัวชี้วัดผลลัพธ์ SROI

ปริมาณหน่วยนับ SROI

ตำบลที่ใช้นวัตกรรม

แคนดง

อำเภอที่ใช้นวัตกรรม

อำเภอแคนดง

จังหวัดที่ใช้นวัตกรรม

บุรีรัมย์

พิกัดที่ใช้นวัตกรรม

นวัตกรชุมชน / ผู้ใช้นวัตกรรม

ระบบบริหารจัดการน้ำรองรับภัยแล้งสำหรับพื้นที่เกษตรผสมผสานแปลงใหญ่




ประเภท : เทคโนโลยี / นวัตกรรมพร้อมใช้

หมวดหมู่ : เกษตร

ระดับผลงาน : TRL9

Tag :


QR code